ค้นหาบ่อย : Octa | pressure gauge | KLQD | diaphragm seal | AT63 | Sirca | nuovafima | arita | ball valve | butterfly valve | positioner | rotork | หัวขับลม | หัวขับไฟฟ้า | GB63 | ari | KITZ | Flowmeter

ทำไมต้องใช้ actuator หัวขับวาล์ว

ทำไมต้องใช้ Actuators

หลังจากที่ได้แนะนำอุปกรณ์ควบคุมวาล์วอย่างหัวขับ หลายท่านยังสงสัยว่า ทำไมต้องใช้ Actuators ? วันนี้ปาโก้จะมาบอกถึงสาเหตุที่โรงงานส่วนใหญ่เลือกใช้หัวขับไม่ว่าจะเป็น Pneumatic หรือ Electric Actuator มาใช้ในระบบการผลิต รวมทั้งบอกถึงประโยชน์และตัวอย่างการใช้งาน Actuator กับวาล์วอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ หากคุณอ่านบทความนี้จนจบ รับรองว่าคุณจะเรียกหาหัวขับอย่างแน่นอน ทำไมต้องใช้ Actuators ? วาล์วเป็นอุปกรณ์ที่ควบคุมการไหลของของเหลวหรือก๊าซ โดยวาล์วส่วนใหญ่จะทำงานด้วยมือ แต่สำหรับวาล์วที่มีขนาดใหญ่หรือทำงานในสภาวะที่อันตราย การใช้มือควบคุมอาจไม่สะดวกหรือปลอดภัย จึงจำเป็นต้องใช้

Read More »
actuators valve pneumatic electric

Actuators คืออะไร ? หัวขับสำหรับวาล์วระบบอัตโนมัติ

ในโลกของวิศวกรรมและระบบอัตโนมัติ คำว่า Actuators เป็นแนวคิดในการควบคุมวาล์วหรือระบบกลไกต่าง ๆ ให้เคลื่อนไหว ปรับเปลี่ยนและทำงานได้อย่างราบรื่นโดยอุปกรณ์ดังกล่าวมักถูกจัดให้อยู่ในหมวดหมู่ของ Control Valve แล้ว “Actuator” หรือ “หัวขับ” มีอะไรบ้าง บทความนี้ ปาโก้ จะอธิบายความหมาย หลักการทำงานของ Pneumatic Actuator ทั้งแบบ Rotary Type, Rack and

Read More »
วาล์วติดหัวขับ วาล์วผีเสื้อ หัวขับลม วาล์วควบคุม Positioner pneumatic actuator butterfly valve 4

การทำงานของวาล์วติดหัวขับ ที่ติดตั้ง Positioner 4-20 mA

วาล์วติดตั้งตัว positioner 4-20 mA เป็นวาล์วควบคุมชนิดหนึ่งที่ใช้กันทั่วไปในกระบวนการทางอุตสาหกรรม ได้รับการออกแบบมาเพื่อควบคุมการไหลของของไหล (ของเหลวหรือก๊าซ) ผ่านท่อหรือระบบตามสัญญาณอินพุต 4-20 mA (มิลลิแอมป์) แบ่งการทำงานของมันออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ Positioner เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณอินพุต 4-20 mA และแปลเป็นตำแหน่งวาล์วที่สอดคล้องกัน หน้าที่หลักของมันคือการเปรียบเทียบสัญญาณอินพุตกับตำแหน่งปัจจุบันของวาล์วและปรับให้เหมาะสม วิธีการทำงานมีดังนี้ – สัญญาณอินพุต : ระบบควบคุมหรือผู้ปฏิบัติงานจะส่งสัญญาณควบคุมไปยังตัว

Read More »
3 อุปกรณ์ทรงพลัง วาล์วน้ำ เกจวัดแรงดัน flowmeter revise

3 อุปกรณ์ทรงพลังที่ทำให้ Process ของคุณราบลื่น

ในอุตสาหกรรมหรือการผลิตใด ๆ การรักษาการไหลของกระบวนการที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่องเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผลผลิตและคุณภาพ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนี้ อุปกรณ์บางอย่างมีบทบาทสำคัญในการควบคุม ปกป้อง และปรับปรุงกระบวนการโดยรวม ในบทความนี้ เราจะสำรวจอุปกรณ์สำคัญสามอย่างที่เป็นเครื่องมือในการทำให้กระบวนการของคุณดำเนินไปอย่างราบรื่น: วาล์วควบคุม เกจวัดแรงดัน และมาตรวัดการไหล 1. วาล์วควบคุม: วาล์ว หรือ Valve เป็นส่วนประกอบสำคัญของระบบที่ต้องการการควบคุมการไหลของของไหลหรือก๊าซอย่างแม่นยำ วาล์วเหล่านี้ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถควบคุมอัตรา ทิศทาง และความดันของตัวกลางที่ผ่านระบบ ด้วยการปรับตำแหน่งของวาล์ว ผู้ปฏิบัติงานสามารถปรับแต่งการไหลอย่างละเอียดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ทำให้มั่นใจได้ถึงเอาต์พุตที่สม่ำเสมอและลดการหยุดชะงัก วาล์วควบคุมได้รับการออกแบบมาเพื่อรองรับอัตราการไหลและแรงดันที่หลากหลาย

Read More »

Knowledge | Ball Valve 3 way | L-port , T-port

Pneumatic Acutator Direction Control , ขั้นตอนการติดตั้งหัวลับลม , หัวขับไฟฟ้า สำหรับวาล์ว 3 ทาง ทั้งแบบ T-Port , L-Port สามารถเลือกติดตั้งการหมุนของหัวขับได้ทั้งทวนเข็ม , ตามเข็มนาฬิกา

Read More »

Knowledge | Limit Switch Box

รหัสสินค้า : CVLS ชื่อภาษาอังกฤษ : Limit Switch Box ชื่อภาษาไทย : กล่อง ลิมิตสวิทช์ มีหน้าที่เป็นอุปกรณ์บอกสถานะของวาล์วว่า เปิดหรือปิดและ ภายในยังมี switch ซึ่งเป็น Dry contact สำหรับส่งสัญญาณ Output อีกด้วย Protect Type แบ่งได้

Read More »

Knowledge | Positioner

รหัสสินค้า : CVPO ชื่อภาษาอังกฤษ : Positioner  ชื่อภาษาไทย : ชุดควบคุมอุปกรณ์วาล์ว Positioner เป็นตัวควบคุมวาล์ว (Controller) ตัวหนึ่ง ทำหน้าที่เปรียบเทียบสัญญาณที่อยู่ในรูปแบบความดันอากาศ (Pneumatic Signal) หรือสัญญาณไฟฟ้า (Electronic Signal) กับตัวควบคุมหลักกับสัญญาณของตำแหน่งก้านลิ้นวาล์ว ที่ต่างกัน Positioner ส่งแรงดันจากอากาศไปกระตุ้น Actuator ให้เคลื่อนที่ไปตำแหน่งที่ต้องการเพื่อ ควบคุมการ

Read More »
pneumatic actuator rack and pinion scotch yoke หัวขับวาล์วลม

Pneumatic Actuator คืออะไร

หลังจากที่เรารู้จัก Actuators กันไปแล้ว คำถามต่อมาคือแล้วประเภท Pneumatic Actuator หรือหัวขับวาล์วลมที่ทำงานด้วยนิวเมติกส์ มีระบบการทำงานอย่างไรและอะไรที่ทำให้ให้หัวขับลมโดดเด่นกว่าหัวขับไฟฟ้า(Electric Actuator) ในบทความนี้เราจะมาเจาะลึกรายละเอียดของ Pneumatic Actuator เกี่ยวกับหลักการทำงาน ประเภททั้งแบบ Scotch Yoke และ Rack&Pinion ข้อดีของการใช้งานหัวขับลมและอุตสาหกรรมที่นิยมนำไปใช้ หากพร้อมแล้วเราไปตะลุยพร้อม ๆ กัน รับรองว่าเป็นประโยชน์อย่างแน่นอนครับ Pneumatic Actuator

Read More »

Electric Actuator คืออะไร

เมื่อเรารู้จัก Actuators สำหรับควบคุมวาล์วกันไปแล้ว ถึงเวลาของ Electric Actuator หนึ่งในประเภทของหัวขับวาล์วแต่ใช้ไฟฟ้าเป็นพลังงานในการขับเคลื่อน ในบทความนี้ ปาโก้จะอธิบายว่า Electric Actuator คืออะไรกันแน่ พร้อมทั้งการทำงาน ประเภทของหัวขับวาล์วไฟฟ้า และการประยุกต์ในงานต่าง ๆ หากคุณอ่านบทความนี้จนจบ ผมเชื่อว่าคุณจะเข้าใจอุปกรณ์ชนิดนี้มากขึ้นอย่างแน่นอนครับ Electric Actuator คืออะไร ? ชื่อภาษาอังกฤษ : Electric

Read More »
มาตรฐาน-iso5211-standard-installation

มาตรฐาน ISO5211 (จุดเชื่อมติดระหว่างวาล์วและหัวขับ)

มาตรฐาน ISO5211 คืออะไร ?  มาตรฐาน ISO5211 คือมาตรฐานยุโรป ที่กำหนดระยะต่างๆ ซึ่งจำเป็นต่อการติดตั้ง(Mounting) หัวขับ(Actuator)และวาล์ว(Valve)เข้าด้วยกัน รายละเอียดของมาตรฐาน ISO5211 จะบ่งบอกระยะ(Dimention)ที่สำคัญไว้ เช่น ระยะห่างระหว่างรูร้อยน็อต ขนาดน็อต เป็นต้น เพื่อให้ผู้ออกแบบ ผู้ผลิตหรือแม้แต่ผู้ซื้อ สามารถเลือกหัวขับและวาล์วที่สามารถติดตั้งเข้าด้วยกันได้โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์เสริม โดยมาตรฐานนี้ได้กำหนดค่าเพื่ออธิบายรายละเอียดเหล่านี้ด้วยอักษร “F” ตามด้วยค่า เช่น F3 F5 F16   สำหรับวาล์วที่มี ISO5211 มักจะพบในวาล์วที่ออกแบบมาเพื่อใส่กับหัวขับโดยตรง สังเกตได้จากชื่อของวาล์ว ยกตัวอย่างเช่น Ball Valve Direct Mount และ Butterfly Valve Bare Shaft หากในสเปคสินค้าไม่ได้ระบุค่า F เอาไว้ ผู้ใช้สามารถวัดระยะจริงแล้วเทียบกับตารางมาตรฐานได้  ทั้งนี้นอกจากการดูระยะจากมาตรฐาน ISO5211 แล้วยังมีปัจจัยสำคัญอย่างค่าทอร์ค(Torque) รูปแบบการทำงานของหัวขับที่มีทั้งแบบ Double Acting, Single Acting ซึ่งจำเป็นต้องทราบก่อนการเลือกซื้อ คลิกที่นี่อ่านบทความเกี่ยวกับค่าทอร์ค  ประโยชน์ของมาตรฐาน ISO5211  ประโยชน์ของ ISO5211 คือการที่ผู้ใช้สามารถเลือกหัวขับและวาล์วที่มีระยะร้อยน็อตตรงกันได้ ทำให้ประหยัดเวลาในการติดตั้งและลดต้นทุนที่อาจเกิดจากการดัดแปลง ทั้งยังช่วยให้การบำรุงรักษา หรือซ่อมแซมเร็วขึ้น และช่วยให้สามารถเปลี่ยนยี่ห้อหรือหายี่ห้อทดแทนได้ เพราะแต่ละส่วนจะถูกปรับโดยมาตรฐานเดียวกัน ค่า F ของวาล์วกับหัวขับไม่ตรงกันทำอย่างไร?  หากค่า F ของหัวขับและวาล์วไม่ตรงกัน สามารถแก้ไขได้โดยการดัดแปลง ซึ่งทางบริษัท ปาโก้ ได้ออกแบบอุปกรณ์เสริมที่ทำให้วาล์วและหัวขับที่มีค่า F ไม่ตรงกันสามารถติดตั้งเข้าด้วยกันได้ ในที่นี้เราเรียกอุปกรณ์ดังกล่าวว่า Keymounth และ Bush (อุปกรณ์นี้มีไว้สำหรับลูกค้าที่ทำการซื้อชุดวาล์วหัวขับกับเราเท่านั้น ไม่มีจำหน่ายแยกน้า)      มาตรฐานการติดตั้งนี้ให้ประโยชน์มากมาย เช่น วาล์วประกอบมีการติดตั้งได้หลากหลายทั้งด้านการใช้งาน และเงื่อนไขนี้ส่งผลให้มีการออกแบบที่กำหนดเองขึ้นมามากมายการทำความเข้าใจความเกี่ยวเนื่องระหว่างส่วนประกอบเหล่านี้จึงมีความสำคัญ ต่อทั้งอายุการใช้งานของอุปกรณ์,ความปลอดภัยและประสิทธิภาพการทำงานของวาล์ว

Read More »
ทำไมต้องใช้ actuator หัวขับวาล์ว

ทำไมต้องใช้ Actuators

หลังจากที่ได้แนะนำอุปกรณ์ควบคุมวาล์วอย่างหัวขับ หลายท่านยังสงสัยว่า ทำไมต้องใช้ Actuators ? วันนี้ปาโก้จะมาบอกถึงสาเหตุที่โรงงานส่วนใหญ่เลือกใช้หัวขับไม่ว่าจะเป็น Pneumatic หรือ Electric Actuator มาใช้ในระบบการผลิต รวมทั้งบอกถึงประโยชน์และตัวอย่างการใช้งาน Actuator กับวาล์วอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ หากคุณอ่านบทความนี้จนจบ รับรองว่าคุณจะเรียกหาหัวขับอย่างแน่นอน ทำไมต้องใช้ Actuators ? วาล์วเป็นอุปกรณ์ที่ควบคุมการไหลของของเหลวหรือก๊าซ โดยวาล์วส่วนใหญ่จะทำงานด้วยมือ แต่สำหรับวาล์วที่มีขนาดใหญ่หรือทำงานในสภาวะที่อันตราย การใช้มือควบคุมอาจไม่สะดวกหรือปลอดภัย จึงจำเป็นต้องใช้

Read More »
actuators valve pneumatic electric

Actuators คืออะไร ? หัวขับสำหรับวาล์วระบบอัตโนมัติ

ในโลกของวิศวกรรมและระบบอัตโนมัติ คำว่า Actuators เป็นแนวคิดในการควบคุมวาล์วหรือระบบกลไกต่าง ๆ ให้เคลื่อนไหว ปรับเปลี่ยนและทำงานได้อย่างราบรื่นโดยอุปกรณ์ดังกล่าวมักถูกจัดให้อยู่ในหมวดหมู่ของ Control Valve แล้ว “Actuator” หรือ “หัวขับ” มีอะไรบ้าง บทความนี้ ปาโก้ จะอธิบายความหมาย หลักการทำงานของ Pneumatic Actuator ทั้งแบบ Rotary Type, Rack and

Read More »
วาล์วติดหัวขับ วาล์วผีเสื้อ หัวขับลม วาล์วควบคุม Positioner pneumatic actuator butterfly valve 4

การทำงานของวาล์วติดหัวขับ ที่ติดตั้ง Positioner 4-20 mA

วาล์วติดตั้งตัว positioner 4-20 mA เป็นวาล์วควบคุมชนิดหนึ่งที่ใช้กันทั่วไปในกระบวนการทางอุตสาหกรรม ได้รับการออกแบบมาเพื่อควบคุมการไหลของของไหล (ของเหลวหรือก๊าซ) ผ่านท่อหรือระบบตามสัญญาณอินพุต 4-20 mA (มิลลิแอมป์) แบ่งการทำงานของมันออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ Positioner เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณอินพุต 4-20 mA และแปลเป็นตำแหน่งวาล์วที่สอดคล้องกัน หน้าที่หลักของมันคือการเปรียบเทียบสัญญาณอินพุตกับตำแหน่งปัจจุบันของวาล์วและปรับให้เหมาะสม วิธีการทำงานมีดังนี้ – สัญญาณอินพุต : ระบบควบคุมหรือผู้ปฏิบัติงานจะส่งสัญญาณควบคุมไปยังตัว

Read More »
3 อุปกรณ์ทรงพลัง วาล์วน้ำ เกจวัดแรงดัน flowmeter revise

3 อุปกรณ์ทรงพลังที่ทำให้ Process ของคุณราบลื่น

ในอุตสาหกรรมหรือการผลิตใด ๆ การรักษาการไหลของกระบวนการที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่องเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผลผลิตและคุณภาพ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนี้ อุปกรณ์บางอย่างมีบทบาทสำคัญในการควบคุม ปกป้อง และปรับปรุงกระบวนการโดยรวม ในบทความนี้ เราจะสำรวจอุปกรณ์สำคัญสามอย่างที่เป็นเครื่องมือในการทำให้กระบวนการของคุณดำเนินไปอย่างราบรื่น: วาล์วควบคุม เกจวัดแรงดัน และมาตรวัดการไหล 1. วาล์วควบคุม: วาล์ว หรือ Valve เป็นส่วนประกอบสำคัญของระบบที่ต้องการการควบคุมการไหลของของไหลหรือก๊าซอย่างแม่นยำ วาล์วเหล่านี้ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถควบคุมอัตรา ทิศทาง และความดันของตัวกลางที่ผ่านระบบ ด้วยการปรับตำแหน่งของวาล์ว ผู้ปฏิบัติงานสามารถปรับแต่งการไหลอย่างละเอียดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ทำให้มั่นใจได้ถึงเอาต์พุตที่สม่ำเสมอและลดการหยุดชะงัก วาล์วควบคุมได้รับการออกแบบมาเพื่อรองรับอัตราการไหลและแรงดันที่หลากหลาย

Read More »

Knowledge | Ball Valve 3 way | L-port , T-port

Pneumatic Acutator Direction Control , ขั้นตอนการติดตั้งหัวลับลม , หัวขับไฟฟ้า สำหรับวาล์ว 3 ทาง ทั้งแบบ T-Port , L-Port สามารถเลือกติดตั้งการหมุนของหัวขับได้ทั้งทวนเข็ม , ตามเข็มนาฬิกา

Read More »

Knowledge | Limit Switch Box

รหัสสินค้า : CVLS ชื่อภาษาอังกฤษ : Limit Switch Box ชื่อภาษาไทย : กล่อง ลิมิตสวิทช์ มีหน้าที่เป็นอุปกรณ์บอกสถานะของวาล์วว่า เปิดหรือปิดและ ภายในยังมี switch ซึ่งเป็น Dry contact สำหรับส่งสัญญาณ Output อีกด้วย Protect Type แบ่งได้

Read More »

Knowledge | Positioner

รหัสสินค้า : CVPO ชื่อภาษาอังกฤษ : Positioner  ชื่อภาษาไทย : ชุดควบคุมอุปกรณ์วาล์ว Positioner เป็นตัวควบคุมวาล์ว (Controller) ตัวหนึ่ง ทำหน้าที่เปรียบเทียบสัญญาณที่อยู่ในรูปแบบความดันอากาศ (Pneumatic Signal) หรือสัญญาณไฟฟ้า (Electronic Signal) กับตัวควบคุมหลักกับสัญญาณของตำแหน่งก้านลิ้นวาล์ว ที่ต่างกัน Positioner ส่งแรงดันจากอากาศไปกระตุ้น Actuator ให้เคลื่อนที่ไปตำแหน่งที่ต้องการเพื่อ ควบคุมการ

Read More »
pneumatic actuator rack and pinion scotch yoke หัวขับวาล์วลม

Pneumatic Actuator คืออะไร

หลังจากที่เรารู้จัก Actuators กันไปแล้ว คำถามต่อมาคือแล้วประเภท Pneumatic Actuator หรือหัวขับวาล์วลมที่ทำงานด้วยนิวเมติกส์ มีระบบการทำงานอย่างไรและอะไรที่ทำให้ให้หัวขับลมโดดเด่นกว่าหัวขับไฟฟ้า(Electric Actuator) ในบทความนี้เราจะมาเจาะลึกรายละเอียดของ Pneumatic Actuator เกี่ยวกับหลักการทำงาน ประเภททั้งแบบ Scotch Yoke และ Rack&Pinion ข้อดีของการใช้งานหัวขับลมและอุตสาหกรรมที่นิยมนำไปใช้ หากพร้อมแล้วเราไปตะลุยพร้อม ๆ กัน รับรองว่าเป็นประโยชน์อย่างแน่นอนครับ Pneumatic Actuator

Read More »

Electric Actuator คืออะไร

เมื่อเรารู้จัก Actuators สำหรับควบคุมวาล์วกันไปแล้ว ถึงเวลาของ Electric Actuator หนึ่งในประเภทของหัวขับวาล์วแต่ใช้ไฟฟ้าเป็นพลังงานในการขับเคลื่อน ในบทความนี้ ปาโก้จะอธิบายว่า Electric Actuator คืออะไรกันแน่ พร้อมทั้งการทำงาน ประเภทของหัวขับวาล์วไฟฟ้า และการประยุกต์ในงานต่าง ๆ หากคุณอ่านบทความนี้จนจบ ผมเชื่อว่าคุณจะเข้าใจอุปกรณ์ชนิดนี้มากขึ้นอย่างแน่นอนครับ Electric Actuator คืออะไร ? ชื่อภาษาอังกฤษ : Electric

Read More »
มาตรฐาน-iso5211-standard-installation

มาตรฐาน ISO5211 (จุดเชื่อมติดระหว่างวาล์วและหัวขับ)

มาตรฐาน ISO5211 คืออะไร ?  มาตรฐาน ISO5211 คือมาตรฐานยุโรป ที่กำหนดระยะต่างๆ ซึ่งจำเป็นต่อการติดตั้ง(Mounting) หัวขับ(Actuator)และวาล์ว(Valve)เข้าด้วยกัน รายละเอียดของมาตรฐาน ISO5211 จะบ่งบอกระยะ(Dimention)ที่สำคัญไว้ เช่น ระยะห่างระหว่างรูร้อยน็อต ขนาดน็อต เป็นต้น เพื่อให้ผู้ออกแบบ ผู้ผลิตหรือแม้แต่ผู้ซื้อ สามารถเลือกหัวขับและวาล์วที่สามารถติดตั้งเข้าด้วยกันได้โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์เสริม โดยมาตรฐานนี้ได้กำหนดค่าเพื่ออธิบายรายละเอียดเหล่านี้ด้วยอักษร “F” ตามด้วยค่า เช่น F3 F5 F16   สำหรับวาล์วที่มี ISO5211 มักจะพบในวาล์วที่ออกแบบมาเพื่อใส่กับหัวขับโดยตรง สังเกตได้จากชื่อของวาล์ว ยกตัวอย่างเช่น Ball Valve Direct Mount และ Butterfly Valve Bare Shaft หากในสเปคสินค้าไม่ได้ระบุค่า F เอาไว้ ผู้ใช้สามารถวัดระยะจริงแล้วเทียบกับตารางมาตรฐานได้  ทั้งนี้นอกจากการดูระยะจากมาตรฐาน ISO5211 แล้วยังมีปัจจัยสำคัญอย่างค่าทอร์ค(Torque) รูปแบบการทำงานของหัวขับที่มีทั้งแบบ Double Acting, Single Acting ซึ่งจำเป็นต้องทราบก่อนการเลือกซื้อ คลิกที่นี่อ่านบทความเกี่ยวกับค่าทอร์ค  ประโยชน์ของมาตรฐาน ISO5211  ประโยชน์ของ ISO5211 คือการที่ผู้ใช้สามารถเลือกหัวขับและวาล์วที่มีระยะร้อยน็อตตรงกันได้ ทำให้ประหยัดเวลาในการติดตั้งและลดต้นทุนที่อาจเกิดจากการดัดแปลง ทั้งยังช่วยให้การบำรุงรักษา หรือซ่อมแซมเร็วขึ้น และช่วยให้สามารถเปลี่ยนยี่ห้อหรือหายี่ห้อทดแทนได้ เพราะแต่ละส่วนจะถูกปรับโดยมาตรฐานเดียวกัน ค่า F ของวาล์วกับหัวขับไม่ตรงกันทำอย่างไร?  หากค่า F ของหัวขับและวาล์วไม่ตรงกัน สามารถแก้ไขได้โดยการดัดแปลง ซึ่งทางบริษัท ปาโก้ ได้ออกแบบอุปกรณ์เสริมที่ทำให้วาล์วและหัวขับที่มีค่า F ไม่ตรงกันสามารถติดตั้งเข้าด้วยกันได้ ในที่นี้เราเรียกอุปกรณ์ดังกล่าวว่า Keymounth และ Bush (อุปกรณ์นี้มีไว้สำหรับลูกค้าที่ทำการซื้อชุดวาล์วหัวขับกับเราเท่านั้น ไม่มีจำหน่ายแยกน้า)      มาตรฐานการติดตั้งนี้ให้ประโยชน์มากมาย เช่น วาล์วประกอบมีการติดตั้งได้หลากหลายทั้งด้านการใช้งาน และเงื่อนไขนี้ส่งผลให้มีการออกแบบที่กำหนดเองขึ้นมามากมายการทำความเข้าใจความเกี่ยวเนื่องระหว่างส่วนประกอบเหล่านี้จึงมีความสำคัญ ต่อทั้งอายุการใช้งานของอุปกรณ์,ความปลอดภัยและประสิทธิภาพการทำงานของวาล์ว

Read More »
สินค้า